ประเภทของความผิด
ความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ
1.ความผิดในตัวเอง
(ละติน: mala inse)
คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็น
ความผิดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
2.ความผิดเพราะกฎหมายห้าม
(ละติน:mala prohibita)
คือความผิดที่เกิดจากการที่
กฎหมายบัญญัติให้เป็นความผิด
โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย
ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎีกฎหมายสามยุค
ความผิดเพราะกฎหมายห้ามอยู่ในยุค
กฎหมายเทคนิค
ลักษณะของการเกิดความผิด
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล
คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการ
เพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้
กฎหมายอาญาแบ่งลักษณะของการกระ
ทำความผิดไว้ 3 ประเภทคือ
1.ความผิดโดยการกระทำ
2.ความผิดโดยการงดเว้นการกระทำ
3.ความผิดโดยการละเว้นการกระทำ
หลักกฎหมายอาญาภาคทั่วไป
1.กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ
“ถ้อยคำ”
ในบทบัญญัติกม.อาญาต้องมีความ
ชัดเจนหลีกเลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้
การตัดสินคดีขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็น
อัตวิสัยและอำเภอใจผู้พิจารณาคดี
2.ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
(การให้เหตุผลโดยอ้างความ
คล้ายคลึงกัน)
ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
3.กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโ
ทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม.ที่ใช้
ในขณะกระทำการนั้นกม.อาญาในที่นี้
คือ
บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับ
การกระทำผิดและโทษ
Nullum crimen, nullapeona sina lega
หรือ
No crime, nopunishment without law
4.กฎหมายอาญาต้องแปลหรือตีความ
โดยเคร่งครัด
ความเข้าใจที่ว่าหากตีความตามตัวอักษร
แล้วหากข้อความนั้นไม่ชัดเจนจึงค่อย
พิจารณาถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็น
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ที่ถูกต้องคือ
การตีความกฎหมายอาญาจะต้องตีความ
ทั้งตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของ
กฎหมายไปพร้อมๆกัน
โดยไม่สามารถเลือกตีความอย่างใด
อย่างเพียงอย่างเดียวก่อนหรือหลังได้
การตีความกฎหมายดังที่กล่าวมาจึงอาจ
มีการตีความอย่างแคบหรืออย่างกว้าง
ก็ได้ ทั้งนี้
เกิดจากการพิจารณาตามตัวอักษร
และเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน
โดยอาจกล่าวได้ว่ามีแต่การตีความ
กฎหมายนั้นมีแต่การตีความโดยถูกต้อง
เท่านั้น
และการที่กฎหมายอาญาจะต้องตีความ
โดยเคร่งครัดนั้น หมายความว่า
ห้ามตีความกฎหมายเกินตัวบท
โดยในกรณีที่เกิดช่องว่างของกฎหมาย
ขึ้นจากการตีความที่ถูกต้องแล้ว
จะไม่สามารถนำกฎหมายใกล้เคียงอย่าง
ยิ่ง (Analogy)
มาปรับใช้เพื่อลงโทษผู้กระทำได้
5.ห้ามใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
เพราะตัวบทมาตรา 2 ใช้คำว่า “บัญญัติ”
และสอดคล้องกับข้อ 1
เพราะจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นเรื่อง
ของแต่ละท้องถิ่น ไม่ชัดเจนแน่นอน
แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
ดูแบบทดสอบ
หลักกฎหมายอาญาภาคทั่วไป
1.กฎหมายอาญาต้องแน่นอนชัดเจนคือ
“ถ้อยคำ”
ในบทบัญญัติกม.อาญาต้องมีความ
ชัดเจนหลีกเลี่ยงถ้อยคำที่จะทำให้
การตัดสินคดีขึ้นอยู่กับความรู้สึกที่เป็น
อัตวิสัยและอำเภอใจผู้พิจารณาคดี
2.ห้ามใช้กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
(การให้เหตุผลโดยอ้างความ
คล้ายคลึงกัน)
ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
3.กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปลงโ
ทษการกระทำที่ผ่านมาแล้วเป็นกม.ที่ใช้
ในขณะกระทำการนั้นกม.อาญาในที่นี้
คือ
บทบัญญัติที่กำหนดเกี่ยวกับ
การกระทำผิดและโทษ
Nullum crimen, nullapeona sina lega
หรือ
No crime, nopunishment without law
4.กฎหมายอาญาต้องแปลหรือตีความ
โดยเคร่งครัด
ความเข้าใจที่ว่าหากตีความตามตัวอักษร
แล้วหากข้อความนั้นไม่ชัดเจนจึงค่อย
พิจารณาถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็น
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ที่ถูกต้องคือ
การตีความกฎหมายอาญาจะต้องตีความ
ทั้งตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของ
กฎหมายไปพร้อมๆกัน
โดยไม่สามารถเลือกตีความอย่างใด
อย่างเพียงอย่างเดียวก่อนหรือหลังได้
การตีความกฎหมายดังที่กล่าวมาจึงอาจ
มีการตีความอย่างแคบหรืออย่างกว้าง
ก็ได้ ทั้งนี้
เกิดจากการพิจารณาตามตัวอักษร
และเจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อมๆกัน
โดยอาจกล่าวได้ว่ามีแต่การตีความ
กฎหมายนั้นมีแต่การตีความโดยถูกต้อง
เท่านั้น
และการที่กฎหมายอาญาจะต้องตีความ
โดยเคร่งครัดนั้น หมายความว่า
ห้ามตีความกฎหมายเกินตัวบท
โดยในกรณีที่เกิดช่องว่างของกฎหมาย
ขึ้นจากการตีความที่ถูกต้องแล้ว
จะไม่สามารถนำกฎหมายใกล้เคียงอย่าง
ยิ่ง (Analogy)
มาปรับใช้เพื่อลงโทษผู้กระทำได้
5.ห้ามใช้จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ลงโทษทางอาญาแก่บุคคล
เพราะตัวบทมาตรา 2 ใช้คำว่า “บัญญัติ”
และสอดคล้องกับข้อ 1
เพราะจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นเรื่อง
ของแต่ละท้องถิ่น ไม่ชัดเจนแน่นอน
แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
ดูแบบทดสอบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น